วงศ์ตีนเป็ด - วิกิพีเดีย

THB 1000.00
ตีนเป็ด

ตีนเป็ด  ต้นตีนเป็ด หรือพญาสัตบรรณ ฝันร้ายในฤดูหนาว เพราะออกดอกในช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม พร้อมส่งกลิ่นฉุนชวนวิงเวียนศีรษะ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565  พันธุ์ไม้พระราชทานเพื่อปลูกเป็นมงคลจังหวัดสมุทรสาคร ชื่อวิทยาศาสตร์ Alstonia scholaris R Br วงศ์ APOCYNACEAE ชื่อสามัญ White Cheesewood ชื่ออื่น ตีนเป็ด หัสบัน สัตบรรน จะบัน

ต้นตีนเป็ด หรือต้นพญาสัตบรรณ ที่มีช่อดอกสวยดูอ่อนโยน แต่กลิ่นตลบอบอวลคลุ้งไปทั่วถนนในช่วงปลายฝนต้นหน้าหนาว  ต้นตีนเป็ด ส่งกลิ่นขนาดนี้ มีประโยชน์แค่ไหน? ทำไมไม่ยอมโค่นทิ้งเสียให้หมด! ยอมรับตามตรงว่าผู้เขียนเองก็เอนเอียงไปทางคนเหม็นกลิ่นต้นตีนเป็ด เมื่อได้กลิ่นก็จะมีอาการเวียนหัว ไม่สบายเนื้อ

ต้นตีนเป็ด หรือต้นพญาสัตบรรณ ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Alstonia scholaris ต้นไม้กลิ่นเหม็น แต่มีประโยชน์ ทั้งดอก ต้น และลูก พร้อมวิธีปลูก เพื่อความเป็นสิริมงคล  - ดอกตีนเป็ด แก้เลือดพิการ แก้ไข้ ตัวร้อน โดยนำดอกตีนเป็ดมาต้มกับน้ำ แล้วดื่มแก้อาการผิดปกติ - ใบตีนเป็ด แก้ไข้หวัด แก้ไข้ ตัวร้อน รักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน โรคลักปิดลักเปิด หรือโรค

Quantity:
Add To Cart